จากภาพต้นฉบับ เมื่อเรานำมาทำเป็น Layer Blending Mode ประเภทของ Blending Mode
แบ่งออกเป็น 17 ประเภท ดังนี้ (ดูภาพสีได้นใบทที่6)
1. Normal
เป็นโหมดพื้นฐานที่ใช้งานกันทั่วไป หรือเรียกได้ว่าเป็นโหมดสีแรก
ที่ต้องใช้ไม่ว่าจะเป็นภาพที่มีสีจำนวนสีน้อย เช่น ในโหมด Bitmap
หรือ ภาพที่มีจำนวนสีมาก เช่น ในโหมด Index Color
2.Dissolve
Result Color เกิดจากการสุ่มเลือกพิกเซลบางพิกเซลทั้ง Base
Colorและ Blend Color มาแสดงเท่านั้น ซึ่งเราจะเห็น
ปรากฎการณ์นี้ได้ชัดขึ้นเมื่อกำหนดให้ค่า Opacity ต่ำๆ ถ้าค่า
Opacity = 100 อาจเห็นเพียงความฟุ้งเบลอเป็นจุดสีๆ บริเวณ
ขอบภาพเท่านั้น โหมดนี้มักใช้สำหรับ Paint Brush Tool หรือ Air
Brush Tool ที่มีปลายปากกามีขนาดใหญ่
3.Multiply
Result Color เกิดจาก Base Color ผสมกับ Blend Color ถ้าสี
Base color เป็นสีดำ Result Color ก็จะเป็นสีดำ ถ้า Base
Color เป็นสีขาว Result Color ก็จะไม่มีการเปลี่ยนแหลง ช่วงสี
ระหว่างสีดำและขาว การเปลี่ยนแปลงมากน้อยตามความหนา
แน่ของสี เป็นเหมือนการระบายสีเมจิก หรือสีน้ำที่ผสมอ่อนๆ ลง
ในภพ
4.Screen
Result Color เกิดจาก Base Color ผสมกับ Blend Color เป็น
เหมือนกับการเอา Slide สีเป็นสีขาวผสมกับสีของ Blend Color เช่น
ถ้า Blend Color เป็นสีน้ำเงิน ก็จะกลายเป็นสีน้ำเงินจางๆ ผสม
กับสีขาว ทำให้ความเข็มของสีดำน้อยลง
5.Soft Light
ความเข้มและความสว่างของ Result Color ขึ้นอยู่กับสีของ Blend
Color ผลที่ได้คล้ายๆ กับการส่องแสง Spot Light ลงบนภาพ
6.Hard Light
ถ้าสีของ Blending Color มีความสว่างมากกว่า 50% Result
Color ที่ได้จะดูสว่างขึ้น ถ้า Blend Color มีความมืดมากกว่า
50% Result Color ที่ได้ จะมีความมืดเพิ่มขึ้น
7.Color Dodge
การเพิ่มความสว่างให้กับ Base Color จะส่งผลให้สีของ Blend
Color สว่างขึ้นตาม ในขณะที่บริเวณของ Blend Color ที่ประกอบ
ด้วยสีดำ จะไม่เกิดปรากฎการณ์นี้
8.Color Burn
การเพิ่มความมืดให้กับ Base Color จะส่งผลให้สีของ Blend
Color มืดลงตาม ในขณะที่บริเวณของ Blend Color ที่ประกอบ
ด้วยสีขาว จะไม่เกิดปรากฎการณ์นี้
9.Darken
จะเปรียบเทียบแต่ละ Pixel ของสี Base Color และ Blend
Color ถ้าสีไหนมีความมืด (Darkness) มากกว่ากัน Result Color
ก็จะได้เป็นสีนั้น
10.Lighten
จะเปรียบเทียบแต่ละ Pixel ของสี Base Color และ Blend
Color ถ้าสีไหนมีความสว่าง (Lightness) มากกว่ากัน Result
Color ก็จะได้เป็นสีนั้น
11.Difference
เป็นการแสดงค่าสีที่เกิดจากผลต่างของค่า Brightness ระหว่าง
Base Color และ Blend Color สีไหนมีค่า Brightness มาก
กว่า Result Color ก็จะออกไปทางสีนั้นนั้นถ้าสีใดสีหนึ่งเป็น
สีขาว Result Color จะเป็นอีกสีหนึ่งทันที และถ้าสีใดสีหนึ่งเป็น
สีดำ Result Color จะเป็นสีดำ (ไม่มีการเปลี่ยนแปลง)
12.Exclusion
ผลที่เกิดขึ้นคล้ายๆ กับใน Difference Mode แต่จะมีความ
Contrast น้อยกว่า
13.Hue
Result Color ที่ได้เกิดจากค่างของ Luminance และ Saturation ของ Base Color และค่า Hue
ของสี Blend Color (โหมด LAB)
14.Saturate
Result Color ที่ได้เกิดจากค่างของ Luminance และ Saturation ของ Base Color และค่า Hue
ของสี Blend Color (โหมด LAB)
15.Color
Result Color ที่ได้เกิดจากค่างของ Luminance และ Saturation ของ Base Color และค่า Hue
ของสี Blend Color (โหมด LAB)
16.Luminoisity
Result Color ที่ได้เกิดจากค่างของ Luminance และ Saturation ของ Base Color และค่า Hue
ของสี Blend Color (โหมด LAB)
17.Overlay
สีของ Base Color จะไม่เปลี่ยนแต่จะถูกสะท้องด้วยค่าความสว่างที่เกิดจากสีของ Blend Color
ตัวอย่างการนำไปใชนะครับ ภาพต้นฉบับ

สร้างเลเยอร์ใหม่ไล่สีฟ้าอ่อน

เปลี่ยน blending mode layer เป็น Hue ภาพที่ได้แบบนี้

บางคนอาจถามว่าแล้วจะเลือกใช้โหมดไหนดีละ ผมเอกทำงานด้านนี้มานานก็บอกไม่ถูกเหมือนกันผมใช้ความรู้สึกเอาว่ามันควรจะใช้โหมดไหนดีด้วยการคลิกไปที่ช่องด้านบนของเลเยอร์แล้วเลือกสักโหมดก่อน ที่นี้ในช่องก็จะเป็นไฮไลด์ สีนำเงิน คราวนี้ก็กดลูกศรที่คีบอร์ด ขึ้นหรือลงเพื่อเปลี่ยนโหมดไปเรื่อยจนกว่าเราจะเจอการ ผสมกันของสีที่เราชอบ

ลองๆ เอาไปใช้กันดูนะครับ |